วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ประวัติวอลเล์บอล

ประวัติกีฬาวอลเลย์บอล
         อุทัย สงวนพงศ์ (2536:6-7)ได้เรียบเรียงไว้ว่ากีฬาวอลเลย์บอลเริ่มขึ้นเมื่อ ปี ค.ศ. 1895 โดยนายวิลเลี่ยม จี มอร์แกน (Wiliam G. Morgan) ผู้อำนวยการฝ่ายพลศึกษาของสมาคม วาย. เอ็ม. ซี. เอ (Young Mem's Christian Association) เมืองฮอนโยค (Holyoke) มลรัฐแมสซานชูเซตส์ (Massachusetts) ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้คิดเกมการเล่นขึ้นมา เนื่องจาก ฤดูหนาวหิมะตกลงมา ผู้คนทั่วไป ไม่สามารถเล่นกีฬากลางแจ้งได้ เขาได้พยายามคิดดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อใช้เป็น กิจกรรมที่ พักผ่อนหย่อนใจ หรือผ่อนคลายความตึงเครียด ขณะที่เขาดูการแข่งขันเทนนิส ได้เกิดแนวคิดที่จะนำลักษณะ และวิธีการเล่น ของ เทนนิสมาดัดแปลงใช้ในการเล่น จึงใช้ตาข่ายเทนนิสขึงระหว่างเสาโรงยิมเนเซียม สูงจากพื้น 6 ฟุต 6 นิ้ว ใช้ยางในลูกบาสเกตบอล สูบลมแล้วใช้มือและแขนตีโต้ข้ามตาข่ายกันไปมา แต่เนื่องจากยางในลูกบาสเกตบอลเบา ทำให้ลูกบาสเกตบอลใหญ่หนัก และแข็ง เกินไป ทำให้มือของผู้เล่นได้รับบาดเจ็บ ในที่สุดเขาจึงให้บริษัท A.G. Spalding and Brother Company ผลิตลูกบอลที่หุ้ม ด้วย หนังและบุด้วยยาง มีเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว หนัก 9-12 ออนซ์ หลังจากทดลองเล่นแล้ว เขาจึงตั้งชื่อเกมการเล่นนี้ว่า "MINTO NETTE' ปี ค.ศ. 1986 มีการประชุมสัมมนาผู้นำทางพลศึกษาที่มหาวิทยาลัยสปริงฟิลด์ (Springfield college) นายวิลเลี่ยม จี มอร์แกน ได้สาธิตวิธีการเล่นต่อหน้าที่ประชุม ซึ่งศาสตราจารย์อัลเฟรต ที เฮลสเตด (Alfred T. Helstead) ได้เสนอแนะ ให้ มอร์แกน เปลี่ยนจากมินโตเนต เป็น "วอลเล่ย์บอล" Volleyball โดยให้ความเห็นว่า เป็นวิธีการเล่นที่ ตีโต้ลูกบอล ให้ลอยข้าม ตาข่าย ไปมาในอากาศ โดยผู้เล่นพยายามไม่ให้ลูกตกลงพื้น ต่อมา กีฬาวอลเล่ย์บอลได้แพร่หลายและเป็นที่นิยมเล่นกันมาก ในหมู่ประชาชน ชาวอเมริกันอย่างมาก เพราะเป็นเกมที่เล่นง่ายสามารถเล่นได้ตามชายทุ่งชายหาด และตาม ค่ายพักแรมทั่วไป เจษฏา เจียระไน (2533:13-15)ได้กว่าวว่าแคนาดา เป็นประเทศแรกที่ยอมรับกีฬาชนิดน ี้เข้าสู่ความนิยม ของหมู่ประชากรแต่นั้นมา กีฬา วอลเลย์บอล ได้แพร่หลายการเล่นไปเกือบทั่วโลก โดยผ่านสมาคม Y.M.C.A. ในแต่ละประเทศ ในปีค.ศ. 1905 มีการเริ่ม เล่นกีฬา วอลเลย์บอลเป็นครั้งแรกในประเทศคิวบา ปี ค.ศ. 1909 เริ่มเล่นกันในประเทศเปอร์โตริโก ปี ค.ศ. 1910 เริ่มเล่นกัน บนเกาะ ฟิลิปปินส์ ปีค.ศ. 1912 เริ่มเล่นกันที่ประเทศอุรุกวัย และประเทศญี่ปุ่น และจีนเริ่มเล่นเมื่อ ค.ศ. 1913 สำหรับในทวีปยุโรป เริ่มรู้จัก และ มีการเล่นกีฬาวอลเลย์บอลกัน โดยกองทัพทหารอเมริกาที่มาร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 นำเข้ามาเผยแพร่ กีฬาวอลเลย์บอล ได้รับความนิยมและแพร่ขยายเข้าไปในประเทศต่างๆ ทั่วยุโรป เช่น  ฝรั่งเศส  เชคโกสโลวะเกีย  โปร์แลนด  ์ และสหภาพโซเวียต กฎเกณฑ์ กติกาการเล่นได้เปลี่ยนแปลงไปในส่วนต่างๆ และตามความนิยม ของแต่ละประเทศทั่วโลก จนกระทั่งเมื่อ การแข่งขัน กีฬาโอลิมปิคในปี ค.ศ. 1963 ก็ได้มีการพยายามจัดตั้งสมาพันธ์ วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (International Volley Federation) ขึ้นแต่ความพยายามนี้ต้องล้มเหลวลง ด้วยสาเหตุและปัจจัยนานาประการ
          กีฬาวอลเลย์บอลเริ่มมีชีวิตชีวาขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ความพยายามที่จะจัดตั้งสมาพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ ก็ได้เริ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1947 และความพยายามครั้งนี้ก็ประสบผลสำเร็จได้มีการจัดตั้ง สมาพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศขึ้นโดยมีประเทศผู้ริเริ่มเป็นหลักคือฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต โปร์แลนด์ ยูโกสลาเวีย และเชคโกสโลวะเกีย รวมทั้งประเทศที่สนับสนุนอีก 14 ประเทศ ปัจจุบันนี้ สมาพันธ์วอลเลย์บอล ระหว่างประเทศ มีสมาชิกทั่วโลกถึง 121 ประเทศ สมาพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศมีชื่อย่อว่า I.V.B.F. ตั้งแต่ที่สมาพันธ์วอลเลย์บอล ระหว่าง ประเทศได้ก่อตั้ง เป็น ตัวเป็นตนขึ้นมา ก็ได้ทำการปรับปรุงและสร้างสรรค์กีฬาวอลเลย์บอลให้เป็นที่นิยมมากขึ้น โดยการกำหนด กฎเกณฑ์ และกติกาต่างๆ ที่กระจัดกระจายอยู่ ให้เป็นมาตรฐานในการนำไปใช้ได้ทั่วไปเหมือนกันหมด รวมทั้งจัดให้มี การแข่งขัน กีฬาวอลเลย์บอลระหว่าง ประเทศต่าง ๆ ด้วย โดยสมาพันธ์ได้จัดให้มีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงชนะเลิศของโลกเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1949 ที่กรุงปราก (Prague) ประเทศเชคโกสโลวะเกีย ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 10 ประเทศ และจัด การแข่งขันวอลเลย์บอล ชิงชนะเลิศแห่งทวีปยุโรป ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1948 ที่กรุงโรม ซึ่งมีทีมเข้าแข่งขันครั้งนี้   จำนวน 6 ทีม กีฬาวอลเลย์บอลแห่ง ประเทศไทย กีฬาวอลเลย์บอลแพร่หลายเข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่เมื่อใดไม่ปรากฏ ไม่มีหลักฐาน ปรากฏ แน่นนอน สันนิษฐาน กันว่ากีฬาประเภทนี้เป็นที่นิยมเล่นกันในหมู่คนไทยบางกลุ่ม ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีการจัด การแข่งขัน กันเองระหว่าง หมู่คณะ สโมสรและสมาคมเป็นประจำตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2477 อันเป็นช่วงเวลาหลัง สงคราม โลกสงบลง        
         กรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันวอลเลย์บอลระหว่างนักเรียนและระหว่างประชาชนขึ้นเป็นประจำทุกปี มาจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งได้จัดพิมพ์กติกาการแข่งขันขึ้นในตอนนั้นด้วย โดยผู้ที่มีความรู้และเชี่ยวชาญทางด้านนี้ คือ อาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปลจากต้นฉบับจริงใช้ในการอบรมครูพลศึกษาทั่วประเทศ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 คณะบุคคลสำคัญ 7 ท่าน โดยมีพลโทสุรจิต จารเศรณี เป็นหัวหน้าในการขอจัดตั้งสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยขึ้น และได้รับอนุมัติ ในการจัดตั้ง เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งดังนี้
     1. เพื่อส่งเสริมการเล่นวอลเลย์บอลในประเทศไทย
     2. เพื่อจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในประเทศไทย
     3. เพื่อจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลระหว่างประเทศ
     4. เพื่อเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลระหว่างประเทศ
     5. จะไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองโดยมี พลโทสุรจิต จารเศรณี เป็นนายกสมาคมคนแรก

                                          

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติและกติกาการเล่นกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด

ประวัติกีฬาวอลเลย์บอล
    ในปี ค.ศ. 1920 มีการกล่าวขวัญถึงการเล่นวอลเลย์บอล 6 คน บนชายหาดในฮาวาย (Hawaii) แต่ไม่มีการยืนยันที่แน่นอน ซึ่งในเวลานั้นกีฬาประเภทนี้มีจุดกำเนิดหรือเป็นสิ่งที่น่าสนใจของคนส่วน ใหญ่อยู่ที่ซานตา มอนิก้า (Sawta Monaca) รัฐแคลิฟอร์เนีย (Calafonia) สหรัฐอเมริกา มีลักษณะเหมือนวอลเลย์บอลในร่ม คือเล่นกันฝ่ายละ 6 คน (6 คนต่อ 6) ในปี ค.ศ. 1927 ฝรั่งเศสเป็นประเทศแรกในยุโรปที่เริ่มเล่นวอลเลย์บอลชายหาด และในปี ค.ศ. 1930 กีฬาประเภทนี้ก็ได้แพร่หลายไปในหลายๆ ประเทศในยุโรปปีเดียวกันนี้เองทางสหรัฐอเมริกาได้เริ่มเล่นระบบฝ่ายละ 4 คน (4 ต่อ 4) และระบบฝ่ายละ 3 (3 ต่อ 3) การเล่นวอลเลย์บอลชายหาดในครั้งนั้น ยังได้มีการกำหนดกติกาสำหรับการตบ การสกัดกั้นและการรับลูกที่แน่นอน

    ในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการจัดการแข่งขันแบบทีมละ 2 คน ขึ้นอย่างเป็นทางการ (เป็นจุดเริ่มต้นของระบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน) ณ ชายหาดสเตท- (State)รัฐแคลิฟอร์เนีย (California) ในทศวรรษที่ 50 ได้จัดระบบการแข่งขันแบบเซอร์กิต (Circuit) ครั้งแรกในสหรัฐฯ และประเทศบราซิลได้จัดการแข่งขันทัวร์นาเมนต์แรกขึ้น และในทศวรรษที่ 60 ได้มีการกำหนดกติกาเกี่ยวกับเรื่องการตบ และการสกัดกั้นและยังได้มีการเสนอกติกาเกี่ยวกับการรับลูกบอลในกรณีต่างๆ แต่ยังไม่มีการประกาศใช้ ในปี ค.ศ. 1976 การแข่งขันชิงแชมป์โลก (อย่างไม่เป็นทางการ) ได้เกิดขึ้นที่ชายหาดสเตท (State) และแปซิฟิก พาริซาเดส (Pacafic Palisades) ซึ่งเป็นการแข่งขันระดับมืออาชีพ (มีเงินรางวัล 5,000 เหรียญสหรัฐฯ)
    ในปี ค.ศ. 1982 วอลเลย์บอลชายหาดเป็นกีฬาที่นิยมกันมากที่สุดในกีฬาที่เล่นกันบริเวณชายหาด โดยเฉพาะที่โคปาคาบานา (Copacabana) และอิปานิมา (Ipanema) ในเมืองริโอ เดอ จาเนโร (Rio De Janeiro) ประเทศบราซิล
    ในปี ค.ศ.1986 ได้มีการสาธิตการเล่นในระดับนานาชาติครั้งแรกขึ้นที่เมืองริโอ เดอ จาเนโร (Rio De Janeiro) ประเทศราซิล มีผู้ชมการแข่งขันประมาณ 5,000 คน ในปี ค.ศ. 1987 สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ ได้จัดการแข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด ชิงแชมป์โลกประเภททีมชาติขึ้นที่เมือง อิปานีมา (Ipanema) คาดว่าจะเป็นการแข่งขันครั้งแรกที่สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติเข้ามาจัดแข่ง ขัน
    ในปี ค.ศ. 1989 และ ค.ศ. 1990 ได้มีการแข่งขันประเภททีมชายที่ชื่อว่า “Fivb Word Series” (Mens Circuit) ซึ่งมีการจัดขึ้นหลายประเภทได้แก่ บราซิล, อิตาลี, ญี่ปุ่น ในแต่ละประเทศมีเงินรางวัล 50,000 เหรียญสหรัฐฯ
    ในปี ค.ศ. 1992 วอลเลย์บอลชายหาดจัดว่าเป็นกีฬาอาชีพที่ได้รับความนิยมไปทั่วโลก คณะกรรมการโอลิมปิกสากลได้ให้ความสนใจกีฬาประเภทนี้เป็นอย่างมาก และได้บรรจุกีฬาวอลเลย์บอลชายหาดเข้าเป็นกีฬาสาธิตในโอลิมปิกที่กรุงบาร์เซ โลน่า (Barcelona) ประเทศสเปน และหลังจากนั้น 1 ปี ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการจัดการแข่งขันชิงแชมป์โลกประเภททีมหญิงครั้งแรกขึ้น โดยใช้ชื่อว่า “Womens Word Championchip-Series”
    ในปี ค.ศ. 1994-1995 สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติได้จัดการแข่งขันประเภท 6 คน ทั้งประเภททีมชายและประเภททีมหญิงในรายการ “Word Championship Series” โดยมีเงินรางวัล 100,000 เหรียญสหรัฐฯ ในประเภททีมชาย และ 50,000 เหรียญสหรัฐ ในประเภททีมหญิง
ในปี ค.ศ. 1995-1996 กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดเป็นที่รู้จักแพร่หลายและตื่นตัวไปทั่วโลกสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติได้เพิ่มจำนวนรายการขึ้นถึง 29 รายการ (29 Tournament Legs) ใน 5 ทวีป มีผู้เข้าชมมากกว่า 80,000 คน และผู้เข้าชมทางโทรทัศน์ทั่วโลกมากกว่า 50 ล้านคน และผลจากการแข่งขันแต่ละทีมจะมีคะแนนสะสมเพื่อเข้าร่วมแข่งขันในกีฬา โอลิมปิก
    ในปี ค.ศ. 1996 สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ ได้จัดการประชุมแบ่งการแข่งขัน “Word Championship-Series” เป็น 3 ระดับคือ 1. Grand Slam, 2. Word Series, 3.Challenger ทุกประเทศสามารถจัดการแข่งขันและเปิดรับสมัครทั่วไปปีนี้เอง วอลเลย์บอลชายหาดได้เป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิก ที่แอตแลนต้า (Atlandta) สหรัฐอเมริกา
ปี ค.ศ. 1997 สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติเปลี่ยนชื่อการแข่งขันจาก “Word Championship-Series” เป็น “Beach Volleyball Word Tour


กติกาการเล่นกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด
1. ขนาดสนามกว้าง 9 เมตร ยาว 18 เมตร ล้อมรอบด้วยเขตรอบสนามอย่างน้อย 5 เมตรทุกด้าน ที่ว่างเหนือพื้นที่การเล่นลูก 12.50 เมตรต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง เส้นสนามมีความกว้าง 5-8 ซม. ต้องเป็นสีเดียวกันและตัดกับสีทรายอย่างชัดเจน
2. พื้นสนามต้องเป็นทรายที่มีความหนาอย่างน้อย 40 ซม. ต้องเป็นเม็ดกลมละเอียด ปราศจากการอัดแน่น และสิ่งที่จะทำให้เกิดอันตรายหรือบาดเจ็บ เช่น เปลือกหอย ก้อนหิน ฯลฯ ต้องไม่หยาบเกินไปหรือละเอียดเกินไปจนกลายเป็นฝุ่น
3. ความสูงตาข่ายประเภททีมชาย 2.43 เมตร หญิง 2.24 เมตร ประเภทอายุไม่เกิน 16 ปี 2.24 เมตร ไม่เกิน 14 ปี 2.12 เมตรไม่เกิน 12 ปี 2.00 เมตร (ทั้งประเภทไม่เกิน 16 ปี, 12 ปี ความสูงของชายและหญิงเท่ากัน)
4. ลูกบอลต้องไม่ดูดซึมน้ำ สีสดใส เช่น สีชมพู ส้ม ลายสลับ ฯลฯ แรงอัด 0.175-0.225 กก./ตร.ซม. จะใช้ลูกบอล 3 ลูกในการแข่งขัน
5. ทีมจะประกอบด้วยผู้เล่น 2 คนเท่านั้น ไม่มีผู้เล่นสำรองหรือ การเปลี่ยนตัว ไม่มีผู้ฝึกสอน
6. ระบบการนับคะแนนมี 2 แบบ คือ
6.1 แบบ ก แข่งขันแบบเซตเดียว ชนะกันที่ 15 คะแนน ถ้ามีการดิวซ์จะไม่เกิน 17 คะแนน และเมื่อคะแนนรวมกันทั้ง 2 ทีม ได้ 5, 10, 15 จะมีการเปลี่ยนแดนและหยุดพัก 30 วินาที
6.2 แบบ ข แข่งขันแบบ 2 ใน 3 เซต ในเซตที่ 1 และ 2 ผู้ที่ทำได้ 12 คะแนนก่อน จะเป็นผู้ชนะ (ไม่มีการดิวซ์) ในเชตที่ 3 เป็นการแข่งขันแบบทีมที่ชนะในการเล่นลูกจะได้คะแนนทุกครั้ง (TIE-BREAK) ทีมที่ทำได้ 12 คะแนนก่อน จะเป็นผู้ชนะ แต่ต้องมีคะแนนนำฝ่ายตรงข้ามอย่างน้อย 2 คะแนน (เช่น 13:11, 15:13) และเมื่อคะแนนรวมกันทั้ง 2 ทีมได้ 4, 8, 12, 16 ฯลฯ จะเปลี่ยนแดนและหยุดพัก 30 วินาที ยกเว้นเซตที่ 3 หลังจากเปลี่ยนแดนแล้วจะแข่งขันต่อทันทีไม่มีการหยุดพัก
7. อยู่ในระหว่างแนวของเส้นข้างทั้งสอง ผู้เสิร์ฟสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในเขตเสิร์ฟ การเสิร์ฟต้องเป็นไปตามลำดับการเสิร์ฟตลอดเซตเพื่อนร่วมทีมของผู้เสิร์ฟต้อง ไม่กำบังทีมตรงข้ามไม่ให้เห็นผู้เสิร์ฟ ต้องเสิร์ฟภายใน 5 วินาที หลังจากผู้ตัดสินอนุญาตไม่มีความพยายามในการเสิร์ฟ
8. ถ้าผู้เล่นทั้งสองทีมถูกลูกบอลพร้อมกันเหนือตาข่าย และไม่เป็นการพักลูกถือว่าไม่ผิดกติกา ถ้าสามารถเล่นต่อไปทีมที่รับลูกสามารถถูกลูกบอลได้อีก3 ครั้ง (กรณีนี้ไม่ถือว่าเป็นการสกัดกั้น) แต่ถ้าลูกบอลออกนอกสนามถือว่าทีมที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามทำลูกออก
9. ลูกบอบอาจถูกส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายได้ แต่ต้องไม่มีลักษณะของการจับลูกหรือโยนลูกบอล การเล่นลูกโดยใช้นิ้วเล่นมือบน (การเซต) ต้องเป็นการถูกลูกบอลในลักษณะการถูกลูกครั้งเดียว ยกเว้นการรับลูกตบด้วยความรุนแรง สามารถเล่นลูกบอล 2 จังหวะ หรือพักลูกได้เล็กน้อย
10. ผู้เล่นอาจล้ำเข้าไปในแดนหรือเขตรอบสนามของทีมตรงข้ามได้ ถ้าไม่กีดขวางการเล่นของคู่ต่อสู้และห้ามทุกส่วนของร่างกาย (ยกเว้นผม) รวมทั้งชุดแข่งขันถูกตาข่าย
11. การถูกบอลขณะทำการสกัดกั้น นับเป็นการถูกบอลของทีม 1 ครั้ง ทีมที่สกัดกั้นจะเล่นได้อีก 2 ครั้ง หลังจากการสกัดกั้น แต่กรณีนี้อนุญาตให้ผู้เล่นสกัดกั้นเล่นบอลครั้งที่ 2 ได้
12. การกระทำต่อไปนี้คือการรุกที่ผิดกติกา
12.1 ผู้เล่นทำการรุกอย่างสมบูรณ์ โดยการแบมือและใช้ปลายนิ้วกดหรือพาลูกบอล
12.2 การเซตข้ามตาข่ายต้องอยู่ในแนวหัวไหล่ของคนเซต ไม่ว่าจะด้านหน้าหรือด้านหลัง
13. การพักระหว่างเซต (ระบบ 2 ใน 3 เซต ) พัก 5 นาที
14. ทีมจะมีเวลานอกได้เซตละไม่เกิน 4 ครั้ง ครั้งละ 30 วินาที

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติกีฬาวอลเลย์บอลนอกประเทศ

          กีฬาวอลเลย์บอลเริ่มขึ้นเมื่อปี ค.ศ. ๑๘๙๕ โดยนายวิลเลียม จี มอร์แกน (William G. Morgan)
ผู้อำนวยการฝ่ายพลศึกษาของสมาคม Y.M.C.A. (Young Men's Christian Association) เมืองฮอลโยค
(Holyoke) มลรัฐแมสซาซูเซตส์ (Massachusetts) ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้คิดเกมการเล่นขึ้น
เนื่องจากในฤดูหนาวหิมะตกลงมา ผู้คนทั่วไปไม่สามารถเล่นกีฬากลางแจ้งได้ เขาได้พยายามคิดและดัดแปลง
กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นกิจกรรมที่พักผ่อนหย่อนใจ หรือผ่อนคลายความตึงเครียดขณะที่พักผ่อนหย่อนใจ
หรือผ่อนคลายความตึงเครียดขณะที่เขาดูการแข่งขันเทนนิส เขาได้เกิดแนวความคิดที่จะนำลักษณะและวิธีการ
เล่นของกีฬาเทนนิสมาดัดแปลงใช้เล่น จึงใช้ตาข่ายเทนนิสซึ่งระหว่างเสาโรงยิมเนเซียม สูงจากพื้นประมาณ
๖ ฟุต ๖ นิ้ว และใช้บางในของลูกบาสเกตบอลสูบลมให้แน่น แล้วใช้มือและแขนตีโต้ข้ามตาข่ายกันไปมา
แต่เนื่องจากยางในของลูกบาสเกตบอลเบาเกินไป ทำให้ลูกบอลเคลื่อนที่ช้าและทิศทางที่เคลื่อนไปไม่แน่นอน
จึงเปลี่ยนมาใช้ลูกบาสเกตบอล แต่ลูกบาสเกตบอลใหญ่ หนักและแข็งเกินไปทำให้มือของผู้เล่นได้รับบาดเจ็บ
ในที่สุดเขาจึงให้บริษัท A.G. Spalding and Brother Company ผลิตลูกบอลที่หุ้มด้วยหนังและบุด้วย
ยาง มีเส้นรอบวง ๒๕-๒๗ นิ้ว มีน้ำหนัก ๘-๑๒ ออนซ์ หลังจากทดลองเล่นแล้ว เขาจึงตั้งชื่อเกมการเล่นนี้ว่า
"มินโตเนต" (Mintonette)

ปี ค.ศ.๑๘๙๖ มีการประชุมสัมมนาผู้นำทางพลศึกษาที่วิทยาลัยสปริงฟิลด์ (Spring-field College)
นายวิลเลียม จี มอร์แกน ได้สาธิตวิธีการเล่นต่อหน้าที่ประชุมซึ่งศาสตราจารย์ อัลเฟรด ที เฮลสเตด (Alfred T.
Helstead) ได้เสนอแนะให้มอร์แกนเปลี่ยนจากมินโตเนต (Mintonette) เป็น "วอลเลย์บอล" (Volleyball)
โดยให้ความเห็นว่าเป็นวิธีการเล่นโต้ลูบอลให้ลอยข้ามตาข่ายไปมาในอากาศ โดยผู้เล่นพยายามไม่ให้ลูกบอล
ตกพื้นต่อมากีฬาวอลเลย์บอลได้แพร่หลายและเป็นที่นิยมเล่นกันในหมู่ประชาชนชาวอเมริกันเป็นอย่างมาก
เพราะเป็นเกมที่เล่นง่าย สามารถเล่นได้ตามชายทุ่ง ชายหาด และตามค่ายพักแรมทั่วไป

ปี ค.ศ ๑๙๒๘ ดอกเตอร์ จอร์จ เจ ฟิเชอร์ ( Dr.George J.Fisher ) ได้ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกติกา
การเล่นวอลเลย์บอล เพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลในระดับชาติ ซึ่งบุคคลผู้นี้เป็นผู้มีบทบาทอย่างมาก
ในการเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลจนได้รับสมญานามว่า บิดาแห่งกีฬาวอลเลย์บอล


ประวัติกีฬาวอลเลย์บอลในประเทศ

       กีฬาวอลเลย์บอลได้แพร่เข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่เมื่อใด ไม่มีหลักฐานแน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าชาวไทย
บางกลุ่มได้เริ่มเล่นและแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลมาตั้งแต่หลังสมัยสงครามโลก  ครั้งที่ ๒ เป็นต้นมา ปี พ.ศ.๒๔๗๗
กรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปี และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก
โดยใช้กติกาการเล่นระบบ ๙ คน และตั้งแต่นั้นกีฬาวอลเลย์บอลก็พัฒนาขึ้น โดยตลอด จนกระทั่งเมื่อวันที่
๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๐ ได้มีการจัดตั้งสมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย
(Amature Volleyball Association of Thailand)   ขึ้น ปัจจุบันกีฬาวอลเลย์บอลได้นิยมเล่นกันอย่าง
แพร่หลายทั้งในโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย และ ตามหน่วยงานต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีการจัดการแข่งขัน
มากมายหลายรายการเป็นประจำทุกปี ดยการดำเนินงานของสมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทยและ
หน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี

ประโยชน์ของการเล่นวอลเลย์บอล

          การเล่นกีฬาเป็นการออกกำลังกายชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันว่าการออกกำลังกายเป็นยาขนานวิเศษ
ดังคำกล่าวที่ว่า"กีฬา กีฬา เป็นยาพิเศษ"วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ทำให้ผู้เล่นเกิดประโยชน์ดังนี้

๑. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ฝึกหัดเล่นให้เป็นได้ง่ายและเล่นได้ทุกเพศทุกวัย เมื่อเล่นวอลเลย์บอลเป็นแล้ว จะทำให้ผู้เล่นสามารถเล่นกีฬาได้นานกว่ากีฬาบางประเภท ซึ่งคุ้มกับที่ได้ฝึกฝนมาแม้แต่สตรีที่มีบุตร
แล้วหากมีร่างกายแข็งแรงก็สามารถเข้าร่วมการแข่งขันได้เป็นอย่างดี

๒. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาประเภททีม จึงต้องมีการฝึกซ้อมเพื่อให้การเล่นในทีมมีความสัมพันธ์และรักใคร่ปรองดองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หากทีมใดขาดความสามัคคีแล้ว เมื่อลงแข่งขันย่อมจะมีชัยชนะได้ยาก ผลของการเล่นกีฬาประเภทนี้จึงสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ให้มีนิสัยรักใคร่สามัคคีกันระหว่าง
หมู่คณะมากยิ่งขึ้น

๓. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ช่วยฝึกฝนให้ผู้เล่นมีไหวพริบที่ชาญฉลาดและแก้ปัญหาอย่างฉับพลันทันที เพราะการเล่นวอลเลย์บอลนั้นผู้เล่นจะต้องเคลื่อนไหวร่างกายอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งต้องมีไหวพริบที่ดีสามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่าง ๆ ได้จึงจะทำให้มีชัยชนะในการเล่น

๔. การเล่นวอลเลย์บอลเป็นการส่งเสริมและฝึกให้ผู้เล่นมีจิตใจเยือกเย็น สุขุม รอบคอบ อารมณ์มั่นคง มีสมาธิดี มีความเชื่อมั่นในตัวเอง เพราะผู้เล่นที่อารมณ์ร้อน มุทะลุ ดุดัน เอาแต่ใจตนเอง จะทำให้การเล่นผิดพลาดบ่อย ๆ ถ้าเป็นการแข่งขันก็จะแพ้ฝ่ายตรงข้ามได้ง่าย ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้ล้วนแต่มีประโยชน์ต่อตัวผู้เล่นวอลเลย์บอล
ที่จะนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเองและสังคมอีกด้วย

๕. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่เล่นได้โดยไม่จำกัดเวลา ถ้าหากผู้เล่นรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งอาจ
จะเล่นตอนเช้า สาย บ่าย เย็นหรือแม้แต่ในเวลากลางคืนก็ได้ถ้ามีแสงสว่างเพียงพอ และเล่นได้ทั้งในที่ร่ม
หรือกลางแจ้ง

๖. การเล่นวอลเลย์บอล ผู้เล่นต่างก็อยู่ในแดนของตนเองและมีตาข่ายขึงกั้นกลางสนาม ทำให้ไม่มีโอกาสที่จะปะทะกันระหว่างผู้เล่นทั้งสองฝ่าย จึงไม่ก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาทกันขึ้น

๗. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของผู้เล่นอย่างหนึ่ง เพราะผู้เล่นจะต้องถูกฝึกให้มีระเบียบ
มีวินัย มีเหตุมีผล รู้จักการเป็นผู้นำผู้ตาม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตน ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นการปลูกฝังนิสัยอันมีผลที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวันด้วย

๘. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่มีกฎกติกา ผู้เล่นต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎกติกาการเล่น ดังนั้นการเล่นวอลเลย์บอล
ย่อมช่วยสอนให้ผู้เล่นรู้จักความยุติธรรม มีความอดทนอดกลั้น รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น

๙. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาประเภทหนึ่ง ที่ช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางด้านร่างกายให้มีความสมบูรณ์ แข็งแรง เพราะผู้เล่นจะต้องฝึกให้ร่างกายแข็งแรง มีความอดทน มีความคล่องแคล่วว่องไว มีพลังและความเร็ว เมื่อร่างกายได้ออกกำลังกายแล้วยังช่วยให้ระบบต่างๆ ภายในร่างกายได้ทำงานประสานสัมพันธ์กัน
เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เมื่อร่างกายแข็งแรงก็จะช่วยเพิ่มความสามารถ
ของร่างกายให้มีความต้านทานได้ดีด้วย

๑๐. กีฬาวอลเลย์บอลเหมือนกับกีฬาประเภทอื่น ๆ ที่สร้างความมีน้ำใจนักกีฬา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การรู้จักแพ้
ชนะและอภัย นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือในการเป็นสื่อกลางก่อให้เกิดความสนิทสนมคุ้นเคยและมีสัมพันธ
์ไมตรีอันดีต่อกัน ทั้งระหว่างภายในประเทศและระหว่างประเทศได้อย่างดี

๑๑. ปัจจุบันผู้เล่นวอลเลย์บอลที่มีความสามารถสูง ยังมีสิทธิ์ได้เข้ามาศึกษาต่อในระดับสูงบางสาขา บางสถาบัน ทั้งสถานการศึกษาของรัฐและเอกชน นอกจากนี้ยังมีหลายหน่วยงานทารับบุคคลที่เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลเข้า
ทำงาน เพราะวอลเลย์บอลกำลังเป็นกีฬาที่นิยมของวงการทั่วไปและมีการแข่งขันกันอยู่เป็นประจำ



มารยาทของผู้เล่นวอลเลย์บอลที่ดี

๑. แต่งกายด้วยชุดที่เหมาะสมกับการเล่นวอลเลย์บอล ในการแข่งขันนั้นผู้เล่นต้องแต่งกายตามกติกา
    แต่ในการเล่นทั่วไปเพื่อความสนุกสนานหรือเพื่อออกกำลังกายควรจะแต่งกายให้เหมาะสม
    บางคนสวมรองเท้าแตะหรือแต่งชุดไปเที่ยวลงเล่น เป็นต้น ซึ่งอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บระหว่างการเล่นได้
๒. ไม่แสดงกิริยาเสียดสีล้อเลียน หรือกล่าวถ้อยคำที่ไม่สุภาพต่อผู้เล่นฝ่ายเดียวกันหรือฝ่ายตรงข้าม หรือผู้ชม
๓. ในระหว่างการแข่งขัน ไม่จงใจฟังคำสอนจากผู้หนึ่งผู้ใดนอกสนาม
๔. มีความสุภาพเรียบร้อย แสดงความเป็นมิตรและให้เกียรติแก่ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามก่อนและ
    หลังการแข่งขันเสร็จสิ้นลงควรจับมือผู้เล่น ของทีมตรงข้ามไม่ว่าทีมจะแพ้หรือชนะก็ตาม
๕. ไม่โต้เถียงหรือแสดงกิริยาอาการที่ไม่เหมาะสมแก่ผู้ตัดสินในการตัดสิน
    และปฏิบัติตามระเบียบกติกาการเล่นอย่างเคร่งครัด
๖. มีใจคอหนักแน่น อดทน อดกลั้น และสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
    ถึงแม้ว่าผู้เล่นฝ่ายเดียวกันผิดพลาดก็ไม่ควรแสดงอาการไม่พอใจ


มารยาทของผู้ชมวอลเลย์บอลที่ดี

๑. แสดงความยินดีด้วยการปรบมือให้แก่ผู้เล่นที่เล่นดี และไม่กล่าวถ้อยคำหรือแสดงกิริยาเยาะเย้ยถากถางผู้เล่น
    ที่เล่นผิดพลาด
๒. ไม่เชียร์ในสิ่งที่เป็นการเสียดสีในทางไม่ดีต่อทีมใดทีมหนึ่ง
๓. ไม่กระทำตัวเป็นผู้ตัดสินเสียเอง เช่น การตะโกนด่าว่าผู้ตัดสิน เป็นต้น
๔. ไม่กระทำสิ่งใด ๆ ที่ทำให้ผู้ตัดสินหรือเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ปฏิบัติงานไม่สะดวก

ประวัติวอลเลย์บอล

วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็น
กิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ปี พ.ศ. 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล
และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา

ประวัติวอลเลย์บอลในประเทศไทย
วอลเลย์บอลได้แพร่หลายเข้ามาในไทย ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด แต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการเริ่มเล่นวอลเลย์บอลในหมู่ชาวจีนและชาวญวนมาก จนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขึ้น บางครั้งติดต่อแข่งขันกันไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีการแข่งขันชิงถ้วยทองคำทางภาคใต้
ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเล่น ตลอดจนกติกาการแข่งขันวอลเลย์บอล แก่บรรดาครูพลศึกษาทั่วประเทศในโอกาสที่กระทรวงศึกษาได้เปิดอบรมขึ้นในปีนี้เองกรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปีขึ้น และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก พร้อมทั้งในหลักสูตรของโรงเรียนพลศึกษากลางได้กำหนดวิชาบังคับให้นักเรียนหญิงเรียนวิชาวอลเลย์บอลและเนตบอล สมัยนั้นมี น.อ.หลวงสุภชลาศัย ร.น. ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดตั้ง "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association of Thailand) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลให้เจริญรุดหน้า และดำเนินการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มีหน่วยราชการอื่นๆ จัดการแข่งขันประจำปี เช่น กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหาร ตลอดจนการแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจำปีทุกปี

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็น
กิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ปี พ.ศ. 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล
และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา

ประวัติวอลเลย์บอลในประเทศไทย
วอลเลย์บอลได้แพร่หลายเข้ามาในไทย ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด แต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการเริ่มเล่นวอลเลย์บอลในหมู่ชาวจีนและชาวญวนมาก จนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขึ้น บางครั้งติดต่อแข่งขันกันไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีการแข่งขันชิงถ้วยทองคำทางภาคใต้
ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเล่น ตลอดจนกติกาการแข่งขันวอลเลย์บอล แก่บรรดาครูพลศึกษาทั่วประเทศในโอกาสที่กระทรวงศึกษาได้เปิดอบรมขึ้นในปีนี้เองกรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปีขึ้น และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก พร้อมทั้งในหลักสูตรของโรงเรียนพลศึกษากลางได้กำหนดวิชาบังคับให้นักเรียนหญิงเรียนวิชาวอลเลย์บอลและเนตบอล สมัยนั้นมี น.อ.หลวงสุภชลาศัย ร.น. ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดตั้ง "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association of Thailand) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลให้เจริญรุดหน้า และดำเนินการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มีหน่วยราชการอื่นๆ จัดการแข่งขันประจำปี เช่น กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหาร ตลอดจนการแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจำปีทุกปี

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็น
กิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ปี พ.ศ. 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล
และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา

ประวัติวอลเลย์บอลในประเทศไทย
วอลเลย์บอลได้แพร่หลายเข้ามาในไทย ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด แต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการเริ่มเล่นวอลเลย์บอลในหมู่ชาวจีนและชาวญวนมาก จนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขึ้น บางครั้งติดต่อแข่งขันกันไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีการแข่งขันชิงถ้วยทองคำทางภาคใต้
ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเล่น ตลอดจนกติกาการแข่งขันวอลเลย์บอล แก่บรรดาครูพลศึกษาทั่วประเทศในโอกาสที่กระทรวงศึกษาได้เปิดอบรมขึ้นในปีนี้เองกรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปีขึ้น และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก พร้อมทั้งในหลักสูตรของโรงเรียนพลศึกษากลางได้กำหนดวิชาบังคับให้นักเรียนหญิงเรียนวิชาวอลเลย์บอลและเนตบอล สมัยนั้นมี น.อ.หลวงสุภชลาศัย ร.น. ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดตั้ง "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association of Thailand) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลให้เจริญรุดหน้า และดำเนินการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มีหน่วยราชการอื่นๆ จัดการแข่งขันประจำปี เช่น กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหาร ตลอดจนการแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจำปีทุกปี

ประวัติวอลเลย์บอล

วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็น
กิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ปี พ.ศ. 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล
และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา

ประวัติวอลเลย์บอลในประเทศไทย
วอลเลย์บอลได้แพร่หลายเข้ามาในไทย ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด แต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการเริ่มเล่นวอลเลย์บอลในหมู่ชาวจีนและชาวญวนมาก จนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขึ้น บางครั้งติดต่อแข่งขันกันไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีการแข่งขันชิงถ้วยทองคำทางภาคใต้
ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเล่น ตลอดจนกติกาการแข่งขันวอลเลย์บอล แก่บรรดาครูพลศึกษาทั่วประเทศในโอกาสที่กระทรวงศึกษาได้เปิดอบรมขึ้นในปีนี้เองกรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปีขึ้น และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก พร้อมทั้งในหลักสูตรของโรงเรียนพลศึกษากลางได้กำหนดวิชาบังคับให้นักเรียนหญิงเรียนวิชาวอลเลย์บอลและเนตบอล สมัยนั้นมี น.อ.หลวงสุภชลาศัย ร.น. ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดตั้ง "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association of Thailand) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลให้เจริญรุดหน้า และดำเนินการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มีหน่วยราชการอื่นๆ จัดการแข่งขันประจำปี เช่น กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหาร ตลอดจนการแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจำปีทุกปี

ประวัติวอลเลย์บอล

วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็น
กิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ปี พ.ศ. 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล
และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา

ประวัติวอลเลย์บอลในประเทศไทย
วอลเลย์บอลได้แพร่หลายเข้ามาในไทย ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด แต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการเริ่มเล่นวอลเลย์บอลในหมู่ชาวจีนและชาวญวนมาก จนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะ ชุมชน สโมสร และสมาคมขึ้น บางครั้งติดต่อแข่งขันกันไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีการแข่งขันชิงถ้วยทองคำทางภาคใต้
ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างยิ่ง จึงได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเล่น ตลอดจนกติกาการแข่งขันวอลเลย์บอล แก่บรรดาครูพลศึกษาทั่วประเทศในโอกาสที่กระทรวงศึกษาได้เปิดอบรมขึ้นในปีนี้เองกรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปีขึ้น และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก พร้อมทั้งในหลักสูตรของโรงเรียนพลศึกษากลางได้กำหนดวิชาบังคับให้นักเรียนหญิงเรียนวิชาวอลเลย์บอลและเนตบอล สมัยนั้นมี น.อ.หลวงสุภชลาศัย ร.น. ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดตั้ง "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย" (Amature Volleyball Association of Thailand) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลให้เจริญรุดหน้า และดำเนินการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลในระบบ 6 คน มีหน่วยราชการอื่นๆ จัดการแข่งขันประจำปี เช่น กรมพลศึกษา กรมการคณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย เทศบาลนครกรุงเทพฯ สภากีฬาทหาร ตลอดจนการแข่งขันกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ได้มีการจัดแข่งขันทั้งประเภททีมชายและทีมหญิงประจำปีทุกปี

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติกีฬาวอลเลย์บอล

กีฬาวอลเลย์บอลกำเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1895 โดยชาวอเมริกานชื่อ นายวิลเลียม  จี  มอร์แกน (Mr. William G. Morgan) ซึ่งตั้งอยู่ที่เมืองโฮลโยก (Holyoke) มลรัฐแมสซาซูเซทส์ (Massachusetts) โดยได้ดัดแปลงมาจากกีฬา3 ชนิด คือ เทนนิส เบสบอล และแฮนด์บอลประยุกต์เข้าด้วยกัน อุปกรณ์
ที่ใช้เล่นคือ ยางในของลูกบาสเกตบอล ใช้ตาข่ายแทนเทนนิสแบ่งเขตแพน ให้ส่วนตรงกลางสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว (1.95 ม.) โดยใช้เสาสองต้นในโรงยิมเนเซียน นายวิลเลียม จี มอร์แกน ได้ให้ความมุ่งหมาย
ของการเล่นกีฬาชนิดนี้ไว้ 3 ประการ คือ

   1.   เพื่อส่งเสริมให้ผู้ใหญ่ได้ออกกำลังกายและใช้เล่นร่วมกันแทนกีฬาบาสเกตบอล
ซึ่งเป็นกีฬาไม่เหมาะสมกับวัยและอายุ

   2   เพื่อให้มีกีฬาที่สามารถใช้เล่นในร่มและในโยงยิมเนเซียมเล็กๆ ได้ และสามารถใช้เล่นในฤดูหนาวได้
   
    3.เพื่อให้ผู้มีอายุมากได้มีโอกาสใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และใช้เวลาพักผ่อนนันทนาการไปในตัวพร้อมกันด้วย โดยมีการกำหนดกติกาง่ายๆ ไม่ยุ่งยากมากนัก กติกาที่กำหนด มีดังนี้

   ก)   การเริ่มเล่น ให้ผู้ที่ได้ส่งลูกของข้างใดข้างหนึ่งเป็นผู้ส่งลูก และละคนมีสิทธิส่งลูก 2 ครั้ง ติดต่อกัน ไม่ว่าฝ่ายส่งจะเสียหรือฝ่ายตรงข้ามจะเสียก็ตาม

   ข)   เกมหนึ่งประกอบไปด้วย 9อินนิง (inning) ถ้าฝ่ายใดแพ้ 3 อินนิง ให้ปรับเป็นฝ่ายแพ้

   ค)   ผู้เล่นแต่ละคนของแต่ละฝ่าย พยายามตีลูกบอลโต้ให้ลอยข้ามตาข่ายไปมา และไม่กำหนดจำนวนผู้เล่นที่แน่นอน จะเล่นข้างละกี่คนก็ได้ แต่ให้จำนวนเท่ากัน

   เกมการเล่นนี้ได้รับความสนใจจากประชาชนมากมาย เพราะทำให้เกิดความสนุกสนาน และนายวิลเลียม จี มอร์แกน ได้ให้ชื่อเมนี้ว่า มินโตเนต (Mintonette)

   ต่อมาในปี ค.ศ. 1896 เกมมินโนเนตได้มีวิวัฒนาการใหม่ เมื่อนายวิลเลียม จี มอร์แกน
แสดงวิธีการเล่นต่อที่ประชุมสัมนาผู้อำนวยการพลศึกษาของสมาคม Y.M.C.A. ที่วิทยาลัยสปริงฟิลด์ มลรัฐแมสซาชูเซทส์ และได้รับความสนใจเป็นอย่างมากจากผู้เข้าร่วมประชุมใหญ่ ศาสตราจารย์อัลเฟรด ทีเฮลสตีด ได้เสนอแนะให้ นายวิลเลียม เปลี่ยนชื่อเรียกจากมินโตเนต เป็น วอลเลย์บอล ตั้งแต่
นั้นมา และได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อร่างระเบียบและกำหนดวิธีการเล่นให้เป็น


แบบฉบับต่อไป โดยได้กำหนดกติกาเพิ่มขึ้น เช่น จำนวนผู้เล่นข้างละ 5 คนแข่งขันเกมละ 21 คะแนน ตาข่ายสูง 21 เมตร เป็นต้น

   ในปี ค.ศ. 1919 สมาคม Y.M.C.A. ได้เชิญสมาคมส่งเสริมการกีฬาแห่งชาติอเมริกาที่มีชื่อเรียกว่า N.C.A.A. (The National Collegiate Athletic Association) เข้าร่วมการพิจารณาและเป็นผู้อุปการะในการจัดพิมพ์หนังสือกติกาวอลเลย์บอลโดยเฉพาะเป็นเล่มแรกของโลกขึ้น มีชื่อเรียกว่า Sponding Bule Cover Volleyball Bule Book ทั้งมีความประสงค์เพื่อเผยแพร่กติกาการเล่นวิลเลย์บอลสู่วิทยาลัยและสมาคมอื่นๆ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น

   กีฬาวอลเลย์บอลได้วิวัฒนาการมาโดยตลอด ในปี ค.ศ. 1921 ได้มีการเปลี่ยนแปลงโดยกำหนดกติกาเพิ่มขึ้น เช่นผู้เล่นใช้จำนวนข้างละ 6 คน ขนาดสนามกว้าง 9 เมตร ยาว 18 เมตร มีเส้นแบ่งแดนกลาง ตาข่ายสูง 2.43 เมตร แข่งขันกันเกมละ 25 คะแนน เป็นต้น

   ต่อมาในปี ค.ศ.1928ได้มีการประชุมขึ้น  และมีการเปลี่ยนแปลงกติกาเล่นวอลเลย์บอล
ของสมาคม Y.M.C.A.  และได้จัดตั้งสมาคมใหม่เรียกว่า U.S.V.B.A. ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตั้ง
กฎเกณฑ์ กติกาการแข่งขันวอลเลยบอลระดับชาติ ประธานสมาคมคนแรก คือดอกเตอร์ จอร์จ เจ.
พิสเซอร์ ซึ่งบุคคลผู้นี้เป็นผู้ที่มีบทบาทอย่างมากในการช่วยเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลออกไปเผยแพร่ในในลักษณะ

โครงการสันทนาการตามค่ายพักแรม ตามบ้าน และตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ จนกีฬาวอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่มีคนนิยมเล่นกันอย่างกว้างขวาง และมีการจัดการแข่งขันแทบทุกหาทุกแห่ง

   ปี ค.ศ. 1947 ได้มีการก่อตั้งสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาได้ย้ายสำนักงานใหญ่ไปตั้งที่เมืองโลวานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในปี
ค.ศ. 1949 ปัจจุบันมีประเทศต่างๆ เข้าร่วมเป็นสมาชิก 210 ประเทศ และมีผู้สนใจเล่นกีฬาวอลเลย์บอลประมาณ 800 ล้านคน

   ปี ค.ศ. 1949 มีการจัดให้มีการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลเพื่อชิงความเป็นผู้ชนะเลิศของโลก
ขึ้นที่กรุงปราก ประเทศเซโกวโลวะเกีย โดยจัดการแข่งขันเฉพาะประเภทชายเท่านั้น

   ปี ค.ศ. 1952 ได้มีการแข่งขันเพื่อชิงความเป็นผู้ชนะเลิศของโลกประเภทชายขึ้น เป็นครั้งที่ 2 และประเภทหญิงเป็นครั้งแรกที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย

   ปี ค.ศ. 1957 กีฬาวอลเลย์บอลเป็นกีฬาประเภทหนึ่งที่จัดแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก

กีฬาวอลเลย์บอลในทวีปเอเชีย

   ได้เริ่มมีการเล่นกีฬาวอเลเลย์บอลครั้งแรกในทวีปเอเซียที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อปี ค.ศ. 1910 โดยนายอี เอส บราวน์ (E.S.Bronwn) เป็นผู้นำเข้าไปเผยแพร่เป็นคนแรก

   ปี ค.ศ. 1913 นายอี เอส บราวน์ ได้นำกีฬาวอลเลย์บอลเข้าไปเผยแพร่ในประเทศญี่ปุ่น
โดยใช้ผู้เล่นข้างละ 8 คน


ปี ค.ศ. 1927 ได้มีการจัดตั้งสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลในการแข่งขันกีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 8 ที่ประเทศญี่ปุ่นด้วย

   ปี ค.ศ. 1951 สามาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่หุ่น สมัครเข้าเป็นสมาชิกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ

   ต่อมาในปี ค.ศ. 1954 ในการแข่งขันกีฬาเอเซียนเกมส์ ครั้งที่ 2 ที่ประเทศอินเดีย ยังไม่มีการแข่งขันวอลเลย์บอล แต่ได้มีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย แทนการแข่งขันวอลเลย์บอล
ในเอเซียนเกมส์ ครั้งที่ 2

   ปี ค.ศ. 1958 ได้เริ่มมีการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล ในการแข่งขันเอเซียนเกมส์ ครั้งที่ 3
โดยประเทศญี่ปุ่นเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน

กีฬาวอลเลย์บอลในประเทศไทย

   ไม่มีประวัติหลักฐานบันทึกไว้แน่นอนว่ากีฬาวอลเลย์บอลเข้ามาในประเทศไทยเมื่อใด
ใครเป็นผู้นำเข้ามา คาดว่าประชาชนไทยบางกลุ่มได้เริ่มเล่นและมีการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลกัน
ในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในช่วงที่มีการแข่งขันเอเชียนเกมส์ ซึ่งประเทศฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่นำมาเผยแพร่ โดยเริ่มเล่นครั้งแรกใช้กติกาการแข่งขัน กำหนดให้มีผู้เล่นทีมละ 9 คน

   จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2500 มีการก่อตั้งสมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทยขึ้นโดยมีกรมพลศึกษาเป็นผู้ดำเนิน
การจัดการแข่งขันขึ้นเป็นประจำทุกปี ทั้งในระดับนักเรียนและ ระดับประชาชน

   สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเพื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 มีผู้ริเริ่มก่อตั้ง คือ

1.   พล.ท.สุรจิตร  จารุเศรณี

2.   นายกอง  วิสุทธารมณ์

3.   นายสวัสิ์  เลขายานนท์

4.   นายนิคม  พลสุวรรณ

5.   นายเสรี   ไตรรัตน์

6.   นายแมน   พลพยุหคีรี

7.   นายเฉลิม  บุญยะสุนทร


สำหรับการจัดการแข่งขัน นอกจากจะมีการดำเนินงานโดยสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยแล้ว ยังมีหน่วยงานอื่นๆ ร่วมกันจัดการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลในกีฬาหลายๆ ระดับ เช่น
กรมพลศึกษา กีฬามหาวิทยาลัย กีฬาทหาร กีฬาแห่งชาติ และกีฬานักเรียน เป็นต้น นอกจากการแข่งขันในประเทศระดับต่างๆ แล้ว ประเทศไทยยังส่งนักกีฬาไปร่วมการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศด้วย เช่น กีฬาซีเกมส์ กีฬาเอเชียนเกมส์ และการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยระหว่างประเทศ เป็นต้น

   ในปัจจุบันนอกจากกีฬาวอลเลย์บอลที่เล่นกันในร่มฝ่ายละ 6 คน หรือเรียกตามภาษาสากลว่า วอลเลย์บอลอินดอร์ (Indoor Volleyball) แล้วยังมีกีฬาวอลเลย์บอลอีกประเภทหนึ่งที่กำลังได้รับความสนใจและนิยมเล่นกันมากในปัจจุบัน คือ วอลเลย์บอลชายหาด (Beach Volleyball) ที่เล่นกันกลางแจ้งบนพื้นทราย ซึ่งมีผู้เล่นฝ่ายละ 2 คน โดยมีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดของกฎกติกา
บางประการ

วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ประวัติวอลเลย์บอล

ประวัติวอลเล่ย์บอล กีฬาวอลเล่ย์บอล ที่มาที่ไป
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ . ศ . 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็นกิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ . ศ . 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ในต้นปี พ . ศ . 2439 ได้มีการประชุมสัมมนาผู้นำทางพลศึกษาที่วิทยาลัยสปริงฟิลด์ ในครั้งนั้น Dr. Luther Gulick ผู้อำนวยการโรงเรียนฝึกพลศึกษาอาชีพและกรรมการบริหารด้านพลศึกษาของสมาคม Y.M.C.A. ได้เชิญให้นาย William G. Morgan นำเกมนี้เข้าร่วมในการจัดนิทรรศการที่ New College Gymnasium โดยใช้ผู้เล่นฝ่ายละ 5 คน
นาย Morgan ได้อธิบายว่าเกมใหม่ชนิดนี้เรียกว่า มินโตเนต (Mintonette) เป็นเกมที่ใช้เล่นลูกบอลในโรงยิมเนเชียม แต่อาจจะใช้เล่นในสนามกลางแจ้งก็ได้ ซึ่งผู้สามารถเล่นลูกบอลโดยไม่มีสิ่งกีดขวางเหนือความสูงของตาข่ายจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง การเล่นเป็นการผสมผสานกันระหว่างเกม 2 ประเภทคือ เทนนิส และ แฮนด์บอล
ศาสตราจารย์ Alfred T. Halstead ผู้อำนวยการพลศึกษาแห่งวิทยาลัยสปริงฟิลด์ ซึ่งได้ชมการสาธิตได้ให้ข้อคิดเห็น และลงความเห็นว่า เนื่องจากเกมการเล่นส่วนใหญ่ลูกบอลจะต้องลอยอยู่ตลอดเวลา เมื่อตกลงพื้นก็ถือว่าผิดกฎเกณฑ์การเล่น จึงใช้ชื่อเกมการเล่นนี้ว่า วอลเลย์บอล ซึ่งในที่ประชุมรวมทั้งนาย Morgan ต่างก็ยอมรับชื่อนี้โดยทั่วกัน
ในปี พ . ศ . 2495 คณะกรรมการบริหารสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ได้เสนอให้ใช้ชื่อเป็นคำเดียวคือ Volleyball และนาย Morgan ได้แนะนำวิธีการเล่นให้แก่ Dr.Frank Wook ซึ่งเป็นนักฟิสิกส์ และ John Lynoh หัวหน้าหน่วยดับเพลิง โดยได้ร่วมกันร่างกฎเกณฑ์ในการเล่นขึ้น 10 ข้อ ดังนี้
1. เกม (Game) เกมหนึ่งประกอบด้วย 9 อินนิ่ง (Innings) เมื่อครบ 9 อินนิ่ง ฝ่ายใดได้คะแนนมากว่าเป็นฝ่ายชนะ
2. อินนิ่ง หมายถึง ผู้เล่นของแต่ละชุดได้เสิร์ฟทุกคน
3. สนามเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 25 ฟุต ยาว 50 ฟุต
4. ตาข่ายกว้าง 2 ฟุต ยาว 27 ฟุต สูงจากพื้น 6 ฟุต 6 นิ้ว
5. ลูกบอลมียางในหุ้มด้วยหนังหรือผ้าใบ วัดโดยรอบไม่น้อยกว่า 25 นิ้วและไม่เกิน 27 นิ้ว มีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 9 ปอนด์ และไม่เกิน 12 ปอนด์
6. ผู้เสิร์ฟและการเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟจะต้องยืนด้วยเท้าหนึ่งบนเส้นหลัง และตีลูกบอลด้วยมือข้างเดียว อนุญาตให้ทำการเสิร์ฟได้ 2 ครั้ง เพื่อที่จะส่งลูกบอลไปยังแดนคู่ต่อสู้เช่นเดียวกับเทนนิส การเสิร์ฟจะต้องตีลูกบอลได้อย่างน้อย 10 ฟุต และห้ามเลี้ยงลูกบอล อนุญาตให้ถูกตาข่ายได้ แต่ถ้าลูกบอลถูกผู้เล่นคนอื่นๆ ก่อนถูกตาข่ายและถ้าลูกข้ามตาข่ายไปยังแดนคู่ต่อสู้ถือว่าดี แต่ถ้าลูกออกนอกสนาม จะหมดสิทธ์การเสิร์ฟ ครั้งที่ 2
7. การนับคะแนนลูกเสิร์ฟที่ดีฝ่ายรับจะไม่สามารถโต้ลูกกลับมาได้ให้นับ 1 คะแนนสำหรับฝ่ายเสิร์ฟ ฝ่ายที่จะสามารถทำคะแนนได้คือฝ่ายเสิร์ฟเท่านั้น ถ้าฝ่ายเสิร์ฟทำลูกบอลเสียในแดนของตนเอง ผู้เสิร์ฟจะหมดสิทธิ์ในการเสิร์ฟ
8. ลูกบอลถูกตาข่าย ( ลูกเสิร์ฟ ) ถ้าเป็นการทำเสียครั้งที่ 1 ให้ขานเป็นลูกตาย
9. ลูกบอลถูกเส้น ให้ถือเป็นลูกออก
10. การเล่นและผู้เล่น การถูกตาข่ายโดยผู้เล่นทำลูกบอลติดตาข่าย หรือ ลูกบอลถูกสิ่งกีดขวาง และกระดอนเข้าสู่สนามถือเป็นลูกดี
ผู้อำนวยการพลศึกษาต่างๆ ของ Y.M.C.A. พยายามส่งเสริมและให้การสนับสนุนกีฬาชนิดนี้โดยนำเข้าไปฝึกในโรงเรียน ซึ่งครูฝึกพลศึกษาของมหาวิทยาลัยสปริงฟิลด์ ในมลรัฐแมสซาชูเซตส์ กับมหาวิทยาลัย George William มลรัฐอิลลินอยส์ ได้เผยแพร่กีฬาชนิดนี้ไปทั่วสหรัฐอเมริกาและแคนาดา โดยมีการทำเป็นแบบแผน เพื่อจะได้นำไปเผยแพร่ต่อไปดังนี้
1. นาย Elwood s. Brown ได้นำกีฬาวอลเลย์บอลไปสู่ประเทศฟิลิปปินส์
2. นาย J. Haward Crocher นำไปเผยแพร่ที่ประเทศจีน
3. นาย Franklin H. Brown นำไปเผยแพร่ที่ประเทศญี่ปุ่น
4. Dr. J.H. Cary นำไปเผยแพร่ที่ประเทศพม่า และอินเดีย
ปี พ . ศ . 2453 นาย Elwood S. Brown เดินทางไปฟิลิปปินส์ ได้ช่วยจัดตั้งสมาคม และริเริ่มการแข่งขันครั้วแรกที่กรุงมะนิลา ในปี พ . ศ . 2456 โดยเรียกการแข่งขันครั้งนี้ว่า Far Eastern Games
ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 Dr.Grorge J. Fischer เลขาธิการปฎิบัติการสงคราม ได้นำเอากีฬาวอลเลย์บอลเข้าไว้เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งในการฝึกทหารในค่าย ทั้งในและนอกประเทศ และได้พิมพ์กฎกติกากีฬาวอลเลย์บอลเพื่อแจกจ่ายไปยังหน่วยต่างๆ ของทหาร ทั้งกองทัพบกและกองทัพเรือ เพื่อให้ทหารได้ใช้เวลาว่างกับกีฬาโดยอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ลูกวอลเลย์บอล และตาข่ายจำนวนหลายหมื่นชิ้นได้ถูกส่งไปยังค่ายทหารที่ประอยู่ตามหน่วยต่างๆ ทั้งในประเทศและกอง ทัพพัธมิตร นับว่า Dr.Grorge J. Fisher เป็นผู้ช่วยเหลือกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างมากจน ได้ชื่อว่าบิดาแห่งกีฬาวอลเลย์บอล
ปี พ . ศ . 2465 ได้มีการปรับปรุงกฎกติกาของวอลเลย์บอลใหม่ โดยสมาคม Y.M.C.A. และสมาคมลูกเสือแห่งอเมริกัน N.O.A.A. ได้จัดการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลขึ้นมีรัฐต่างๆ ส่งเข้าแข่งขัน 11 รัฐ มีทีมเข้าแข็งขันทั้งสิ้น 23 ทีม รวมทั้งทีมจากแคนาดา
ปี พ . ศ . 2467 กองทัพบกและกองเรือของสหรัฐอเมริกา ได้ส่งเสริมกีฬาวอลเลย์บอลอย่างจริงจัง จนกระทั่งได้แพร่เข้าไปยังกลุ่มโรงเรียน และสมาคมต่างๆ ซึ่งเรียกกันว่าสมาคมกีฬาและสันทนาการแห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็นสันทนาการแห่งชาติ ได้นำเอากีฬาวอลเลย์บอลบรรจุไว้ในกิจกรรมของสมาคม
วันที่ 9 กรกฎาคม พ . ศ . 2471 ไดมีการตั้งสมาคมวอลเลย์บอลแห่งสหรัฐอเมริกาขึ้น เรียกว่า The Untied States Volleyball Association มีชื่อย่อ USVBA ที่ Dr. George J. Fischer เป็นประธาน และ Dr. John Brown เป็นเลขาธิการ ได้ตั้งความมุ่งหมายในการบริหารกีฬาวอลเลย์บอลออกเป็นข้อๆ ดังต่อไปนี้
1. จัดการประชุมประจำปีเพื่อจดทะเบียนมาตรฐานของกีฬาวอลเลย์บอลให้ดีขึ้น
2. วางแผนงานพัฒนากีฬา และการจัดการแข่งขัน
3. จัดการแข่งขันชิงชนะเลิศแห่งชาติ
4. พัฒนากติกาในการเล่นให้ดีขึ้น
5. จัดหาสมาชิกให้เพิ่มขึ้น
ปี พ . ศ . 2479 ได้มีการจัดการแข่งขันประจำปีที่นครนิวยอร์ก จากการแข่งขันนี้ทำให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแข่งขันวอลเลย์บอลดีขึ้น โดยมีสมาชิกเข้าร่วมจำนวนมาก
ปี พ . ศ . 2483 สมาคม USVBA ได้รับสมาชิกเพิ่ม 2 ทีม คือ มหาวิทยาลัยเทเบิล และมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย และได้มีการแข่งขันประเภทประชาชนทั่วไปที่รัฐฟิลาเดลเฟีย
ปี พ . ศ . 2485 มีการแบ่งเขตออกเป็น 12 เขต สมาชิกต่างๆ ได้ขอร้องให้สมาคม Y.M.C.A. หยุดรับสมาชิกเพราะมีสมาชิกมากเกินไป ทำให้บริการได้ไม่ทั่วถึง เอกอัครราชทูตของรัสเซีย ในกรุงวอชิงตัน ได้ส่งเอกสารเกี่ยวกับกฎกติกาของวอลเลย์บอล ซึ่งได้จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม โดยมีนาย Herry E. Willson และ Dr. David T. Gaodon เป็นผู้จัดพิมพ์ขึ้น
วันที่ 12 ธันวาคม พ . ศ . 2485 นาย William G. Morgan ผู้ริเริ่มกีฬาวอลเลย์บอลได้ถึงแก่กรรม
ปี พ . ศ . 2486 สมาคมสตรีของ AAHPER (America Association of Health,Physical Education and Recreation) โดยมี Dr. John Brown เป็นเลขาธิการและเหรัญญิกของสมาคม ได้นำเอากีฬาวอลเลย์บอลบรรจุเข้าไว้ในกิจกรรมของสมาคมสตรี และดำเนินการแข่งขันภายในกลุ่ม
ระหว่างวันที่ 1-7 พฤษภาคม พ . ศ . 2487 ได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลนานาชาติขึ้น โดยมีทีมที่สนใจเข้าร่วมการแข่งขันจำนวนมาก
ปี พ . ศ . 2489 ได้เริ่มมีการสอนกีฬาวอลเลย์บอล โดยใช้อุปกรณ์การสอน เช่น ภาพยนตร์เกี่ยวกับการเล่นและการแข่งขันซึ่งเป็นฟิล์ม 16 มิลลิเมตร จำนวน 2 ม้วน ในการทำภาพยนตร์ครั้งนี้คิดเป็นเงินประมาณ 7,800 ดอลลาร์ฯ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ได้มีการประชุมเกี่ยวกับการแข่งขันระหว่างชาติ โดยเริ่มที่ชิคาโก ซึ่ง Andrew Stewert เลขาธิการโอลิมปิกแห่ง สหรัฐอเมริกา เพื่อนำกีฬาวอลเลย์บอลจัดแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกต่อไป
ปี พ . ศ . 2490 ได้มีกฎกติกาจัดพิมพ์ใหม่ โดยสมาคม USVBA ซึ่งทางสมาคมได้ส่งนาย FB. De Groot และนาย Royal L. Thomas เป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุมที่กรุงปารีส โดยร่วมจัดการแข่งขันระหว่างชาติขึ้น ซึ่งเป็นผลให้เกิดสหพันธ์กีฬาวอลเลย์บอลนานาชาติขึ้นในต้นปีนี้เอง
ปี พ . ศ . 2491 มีการประชุมสมาคม USVBA ที่ South Bend Indiana และปรับปรุงสมาคม USVBA มีการเลือกตั้งคณะกรรมการใหม่ขึ้น โดยสมาคมได้ส่งทีมวอลเลย์บอลชายไปตระเวนแข่งขันในยุโรป
ปี พ . ศ . 2492 หนังสือ Time Game เขียนโดยสมาคม USVBA รายงานการแข่งขันวอลเลย์บอลที่ลอสแอนเจลีส ซึ่งเป็นการแข่งขันระหว่างประเทศ ผู้ที่ชนะเลิศได้แก่ รัสเซีย ที่ 2 ได้แก่ เชโกสโลวาเกีย และในปีนี้เองประเทศผรั่งเศสได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของสมาคม USVBA ด้วย
ปี พ . ศ . 2493 Dr. Fisheer ข้าราชการบำนาญที่มาร์แชลแอลเวลเตอร์ ได้นัดประชุมผู้นำทางกีฬาวอลเลย์บอล โดยแต่ละประเทศได้เขียนรายงานการประชุมเป็นภาษาสวิส และมีการสาธิตการเล่นกลางแจ้ง และในปีนี้ประเทศอังกฤษได้นำเอากีฬาวอลเลย์บอลไว้ในกิจกรรมของสมาคม Y.M.C.A. ของอังกฤษด้วย
ปี พ . ศ . 2494 นาย Robert J. Lavelca ได้ทำสไลด์เกี่ยวกับทักษะเบื้องต้นในการเล่นกีฬาวอลเลย์บอลขึ้น
ปี พ . ศ . 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา
ประวัติวอลเล่ย์บอล กีฬาวอลเล่ย์บอล ที่มาที่ไป
กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ได้เริ่มขึ้นในปี พ . ศ . 2438 โดย William G. Morgan ผู้อำนวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม Y.M.C.A. ( Young Mans Christian Association) เมืองโฮล์โยค ( Holyoke) มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้เกิดขึ้นเพียง 1 ปี ก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ ครั้งที่ 1 ณ กรุงเอเธนส์ โดยเขาได้พยายามคิดและดัดแปลงกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ใช้เป็นกิจกรรมนันทนาการหรือผ่อนคลายความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล และเขาก็เกิดความคิดขึ้นในขณะที่ได้ดูเกมเทนนิส เพราะกีฬาเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้อุปกรณ์ เช่น แร็กเกต ลูกบอล ตาข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ อีกมาก จึงได้มีแนวคิดที่จะใช้ตาข่ายสูง 6 ฟุต 6 นิ้ว จากพื้นซุงเป็นระดับสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของผู้ชาย และได้ใช้ยางในของลูกบาสเกตบอลมาทำเป็นลูกบอล แต่ปรากฏว่ายางในลูกบาสเกตบอลเบาและช้าเกินไป จึงได้ใช้ยางนอกของลูกบาสเกตบอล ซึ่งก็ปรากฏว่าใหญ่และหนาเกินไปไม่เหมาะสม ดังนั้น ในปี พ . ศ . 2449 Morgan ได้ติดต่อบริษัท A.G.Spalding and Brother ให้ทำลูกบอลตัวอย่างขึ้น 1 ลูก โดยมีขนาดเส้นรอบวง 25-27 นิ้ว น้ำหนัก 9-12 ออนซ์ เพื่อนำมาใช้แทนลูกบาสเกตบอล
ในต้นปี พ . ศ . 2439 ได้มีการประชุมสัมมนาผู้นำทางพลศึกษาที่วิทยาลัยสปริงฟิลด์ ในครั้งนั้น Dr. Luther Gulick ผู้อำนวยการโรงเรียนฝึกพลศึกษาอาชีพและกรรมการบริหารด้านพลศึกษาของสมาคม Y.M.C.A. ได้เชิญให้นาย William G. Morgan นำเกมนี้เข้าร่วมในการจัดนิทรรศการที่ New College Gymnasium โดยใช้ผู้เล่นฝ่ายละ 5 คน
นาย Morgan ได้อธิบายว่าเกมใหม่ชนิดนี้เรียกว่า มินโตเนต (Mintonette) เป็นเกมที่ใช้เล่นลูกบอลในโรงยิมเนเชียม แต่อาจจะใช้เล่นในสนามกลางแจ้งก็ได้ ซึ่งผู้สามารถเล่นลูกบอลโดยไม่มีสิ่งกีดขวางเหนือความสูงของตาข่ายจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง การเล่นเป็นการผสมผสานกันระหว่างเกม 2 ประเภทคือ เทนนิส และ แฮนด์บอล
ศาสตราจารย์ Alfred T. Halstead ผู้อำนวยการพลศึกษาแห่งวิทยาลัยสปริงฟิลด์ ซึ่งได้ชมการสาธิตได้ให้ข้อคิดเห็น และลงความเห็นว่า เนื่องจากเกมการเล่นส่วนใหญ่ลูกบอลจะต้องลอยอยู่ตลอดเวลา เมื่อตกลงพื้นก็ถือว่าผิดกฎเกณฑ์การเล่น จึงใช้ชื่อเกมการเล่นนี้ว่า วอลเลย์บอล ซึ่งในที่ประชุมรวมทั้งนาย Morgan ต่างก็ยอมรับชื่อนี้โดยทั่วกัน
ในปี พ . ศ . 2495 คณะกรรมการบริหารสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ได้เสนอให้ใช้ชื่อเป็นคำเดียวคือ Volleyball และนาย Morgan ได้แนะนำวิธีการเล่นให้แก่ Dr.Frank Wook ซึ่งเป็นนักฟิสิกส์ และ John Lynoh หัวหน้าหน่วยดับเพลิง โดยได้ร่วมกันร่างกฎเกณฑ์ในการเล่นขึ้น 10 ข้อ ดังนี้
1. เกม (Game) เกมหนึ่งประกอบด้วย 9 อินนิ่ง (Innings) เมื่อครบ 9 อินนิ่ง ฝ่ายใดได้คะแนนมากว่าเป็นฝ่ายชนะ
2. อินนิ่ง หมายถึง ผู้เล่นของแต่ละชุดได้เสิร์ฟทุกคน
3. สนามเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 25 ฟุต ยาว 50 ฟุต
4. ตาข่ายกว้าง 2 ฟุต ยาว 27 ฟุต สูงจากพื้น 6 ฟุต 6 นิ้ว
5. ลูกบอลมียางในหุ้มด้วยหนังหรือผ้าใบ วัดโดยรอบไม่น้อยกว่า 25 นิ้วและไม่เกิน 27 นิ้ว มีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 9 ปอนด์ และไม่เกิน 12 ปอนด์
6. ผู้เสิร์ฟและการเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟจะต้องยืนด้วยเท้าหนึ่งบนเส้นหลัง และตีลูกบอลด้วยมือข้างเดียว อนุญาตให้ทำการเสิร์ฟได้ 2 ครั้ง เพื่อที่จะส่งลูกบอลไปยังแดนคู่ต่อสู้เช่นเดียวกับเทนนิส การเสิร์ฟจะต้องตีลูกบอลได้อย่างน้อย 10 ฟุต และห้ามเลี้ยงลูกบอล อนุญาตให้ถูกตาข่ายได้ แต่ถ้าลูกบอลถูกผู้เล่นคนอื่นๆ ก่อนถูกตาข่ายและถ้าลูกข้ามตาข่ายไปยังแดนคู่ต่อสู้ถือว่าดี แต่ถ้าลูกออกนอกสนาม จะหมดสิทธ์การเสิร์ฟ ครั้งที่ 2
7. การนับคะแนนลูกเสิร์ฟที่ดีฝ่ายรับจะไม่สามารถโต้ลูกกลับมาได้ให้นับ 1 คะแนนสำหรับฝ่ายเสิร์ฟ ฝ่ายที่จะสามารถทำคะแนนได้คือฝ่ายเสิร์ฟเท่านั้น ถ้าฝ่ายเสิร์ฟทำลูกบอลเสียในแดนของตนเอง ผู้เสิร์ฟจะหมดสิทธิ์ในการเสิร์ฟ
8. ลูกบอลถูกตาข่าย ( ลูกเสิร์ฟ ) ถ้าเป็นการทำเสียครั้งที่ 1 ให้ขานเป็นลูกตาย
9. ลูกบอลถูกเส้น ให้ถือเป็นลูกออก
10. การเล่นและผู้เล่น การถูกตาข่ายโดยผู้เล่นทำลูกบอลติดตาข่าย หรือ ลูกบอลถูกสิ่งกีดขวาง และกระดอนเข้าสู่สนามถือเป็นลูกดี
ผู้อำนวยการพลศึกษาต่างๆ ของ Y.M.C.A. พยายามส่งเสริมและให้การสนับสนุนกีฬาชนิดนี้โดยนำเข้าไปฝึกในโรงเรียน ซึ่งครูฝึกพลศึกษาของมหาวิทยาลัยสปริงฟิลด์ ในมลรัฐแมสซาชูเซตส์ กับมหาวิทยาลัย George William มลรัฐอิลลินอยส์ ได้เผยแพร่กีฬาชนิดนี้ไปทั่วสหรัฐอเมริกาและแคนาดา โดยมีการทำเป็นแบบแผน เพื่อจะได้นำไปเผยแพร่ต่อไปดังนี้
1. นาย Elwood s. Brown ได้นำกีฬาวอลเลย์บอลไปสู่ประเทศฟิลิปปินส์
2. นาย J. Haward Crocher นำไปเผยแพร่ที่ประเทศจีน
3. นาย Franklin H. Brown นำไปเผยแพร่ที่ประเทศญี่ปุ่น
4. Dr. J.H. Cary นำไปเผยแพร่ที่ประเทศพม่า และอินเดีย
ปี พ . ศ . 2453 นาย Elwood S. Brown เดินทางไปฟิลิปปินส์ ได้ช่วยจัดตั้งสมาคม และริเริ่มการแข่งขันครั้วแรกที่กรุงมะนิลา ในปี พ . ศ . 2456 โดยเรียกการแข่งขันครั้งนี้ว่า Far Eastern Games
ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 Dr.Grorge J. Fischer เลขาธิการปฎิบัติการสงคราม ได้นำเอากีฬาวอลเลย์บอลเข้าไว้เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งในการฝึกทหารในค่าย ทั้งในและนอกประเทศ และได้พิมพ์กฎกติกากีฬาวอลเลย์บอลเพื่อแจกจ่ายไปยังหน่วยต่างๆ ของทหาร ทั้งกองทัพบกและกองทัพเรือ เพื่อให้ทหารได้ใช้เวลาว่างกับกีฬาโดยอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ลูกวอลเลย์บอล และตาข่ายจำนวนหลายหมื่นชิ้นได้ถูกส่งไปยังค่ายทหารที่ประอยู่ตามหน่วยต่างๆ ทั้งในประเทศและกอง ทัพพัธมิตร นับว่า Dr.Grorge J. Fisher เป็นผู้ช่วยเหลือกีฬาวอลเลย์บอลเป็นอย่างมากจน ได้ชื่อว่าบิดาแห่งกีฬาวอลเลย์บอล
ปี พ . ศ . 2465 ได้มีการปรับปรุงกฎกติกาของวอลเลย์บอลใหม่ โดยสมาคม Y.M.C.A. และสมาคมลูกเสือแห่งอเมริกัน N.O.A.A. ได้จัดการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลขึ้นมีรัฐต่างๆ ส่งเข้าแข่งขัน 11 รัฐ มีทีมเข้าแข็งขันทั้งสิ้น 23 ทีม รวมทั้งทีมจากแคนาดา
ปี พ . ศ . 2467 กองทัพบกและกองเรือของสหรัฐอเมริกา ได้ส่งเสริมกีฬาวอลเลย์บอลอย่างจริงจัง จนกระทั่งได้แพร่เข้าไปยังกลุ่มโรงเรียน และสมาคมต่างๆ ซึ่งเรียกกันว่าสมาคมกีฬาและสันทนาการแห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็นสันทนาการแห่งชาติ ได้นำเอากีฬาวอลเลย์บอลบรรจุไว้ในกิจกรรมของสมาคม
วันที่ 9 กรกฎาคม พ . ศ . 2471 ไดมีการตั้งสมาคมวอลเลย์บอลแห่งสหรัฐอเมริกาขึ้น เรียกว่า The Untied States Volleyball Association มีชื่อย่อ USVBA ที่ Dr. George J. Fischer เป็นประธาน และ Dr. John Brown เป็นเลขาธิการ ได้ตั้งความมุ่งหมายในการบริหารกีฬาวอลเลย์บอลออกเป็นข้อๆ ดังต่อไปนี้
1. จัดการประชุมประจำปีเพื่อจดทะเบียนมาตรฐานของกีฬาวอลเลย์บอลให้ดีขึ้น
2. วางแผนงานพัฒนากีฬา และการจัดการแข่งขัน
3. จัดการแข่งขันชิงชนะเลิศแห่งชาติ
4. พัฒนากติกาในการเล่นให้ดีขึ้น
5. จัดหาสมาชิกให้เพิ่มขึ้น
ปี พ . ศ . 2479 ได้มีการจัดการแข่งขันประจำปีที่นครนิวยอร์ก จากการแข่งขันนี้ทำให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแข่งขันวอลเลย์บอลดีขึ้น โดยมีสมาชิกเข้าร่วมจำนวนมาก
ปี พ . ศ . 2483 สมาคม USVBA ได้รับสมาชิกเพิ่ม 2 ทีม คือ มหาวิทยาลัยเทเบิล และมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย และได้มีการแข่งขันประเภทประชาชนทั่วไปที่รัฐฟิลาเดลเฟีย
ปี พ . ศ . 2485 มีการแบ่งเขตออกเป็น 12 เขต สมาชิกต่างๆ ได้ขอร้องให้สมาคม Y.M.C.A. หยุดรับสมาชิกเพราะมีสมาชิกมากเกินไป ทำให้บริการได้ไม่ทั่วถึง เอกอัครราชทูตของรัสเซีย ในกรุงวอชิงตัน ได้ส่งเอกสารเกี่ยวกับกฎกติกาของวอลเลย์บอล ซึ่งได้จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม โดยมีนาย Herry E. Willson และ Dr. David T. Gaodon เป็นผู้จัดพิมพ์ขึ้น
วันที่ 12 ธันวาคม พ . ศ . 2485 นาย William G. Morgan ผู้ริเริ่มกีฬาวอลเลย์บอลได้ถึงแก่กรรม
ปี พ . ศ . 2486 สมาคมสตรีของ AAHPER (America Association of Health,Physical Education and Recreation) โดยมี Dr. John Brown เป็นเลขาธิการและเหรัญญิกของสมาคม ได้นำเอากีฬาวอลเลย์บอลบรรจุเข้าไว้ในกิจกรรมของสมาคมสตรี และดำเนินการแข่งขันภายในกลุ่ม
ระหว่างวันที่ 1-7 พฤษภาคม พ . ศ . 2487 ได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลนานาชาติขึ้น โดยมีทีมที่สนใจเข้าร่วมการแข่งขันจำนวนมาก
ปี พ . ศ . 2489 ได้เริ่มมีการสอนกีฬาวอลเลย์บอล โดยใช้อุปกรณ์การสอน เช่น ภาพยนตร์เกี่ยวกับการเล่นและการแข่งขันซึ่งเป็นฟิล์ม 16 มิลลิเมตร จำนวน 2 ม้วน ในการทำภาพยนตร์ครั้งนี้คิดเป็นเงินประมาณ 7,800 ดอลลาร์ฯ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ได้มีการประชุมเกี่ยวกับการแข่งขันระหว่างชาติ โดยเริ่มที่ชิคาโก ซึ่ง Andrew Stewert เลขาธิการโอลิมปิกแห่ง สหรัฐอเมริกา เพื่อนำกีฬาวอลเลย์บอลจัดแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกต่อไป
ปี พ . ศ . 2490 ได้มีกฎกติกาจัดพิมพ์ใหม่ โดยสมาคม USVBA ซึ่งทางสมาคมได้ส่งนาย FB. De Groot และนาย Royal L. Thomas เป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุมที่กรุงปารีส โดยร่วมจัดการแข่งขันระหว่างชาติขึ้น ซึ่งเป็นผลให้เกิดสหพันธ์กีฬาวอลเลย์บอลนานาชาติขึ้นในต้นปีนี้เอง
ปี พ . ศ . 2491 มีการประชุมสมาคม USVBA ที่ South Bend Indiana และปรับปรุงสมาคม USVBA มีการเลือกตั้งคณะกรรมการใหม่ขึ้น โดยสมาคมได้ส่งทีมวอลเลย์บอลชายไปตระเวนแข่งขันในยุโรป
ปี พ . ศ . 2492 หนังสือ Time Game เขียนโดยสมาคม USVBA รายงานการแข่งขันวอลเลย์บอลที่ลอสแอนเจลีส ซึ่งเป็นการแข่งขันระหว่างประเทศ ผู้ที่ชนะเลิศได้แก่ รัสเซีย ที่ 2 ได้แก่ เชโกสโลวาเกีย และในปีนี้เองประเทศผรั่งเศสได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของสมาคม USVBA ด้วย
ปี พ . ศ . 2493 Dr. Fisheer ข้าราชการบำนาญที่มาร์แชลแอลเวลเตอร์ ได้นัดประชุมผู้นำทางกีฬาวอลเลย์บอล โดยแต่ละประเทศได้เขียนรายงานการประชุมเป็นภาษาสวิส และมีการสาธิตการเล่นกลางแจ้ง และในปีนี้ประเทศอังกฤษได้นำเอากีฬาวอลเลย์บอลไว้ในกิจกรรมของสมาคม Y.M.C.A. ของอังกฤษด้วย
ปี พ . ศ . 2494 นาย Robert J. Lavelca ได้ทำสไลด์เกี่ยวกับทักษะเบื้องต้นในการเล่นกีฬาวอลเลย์บอลขึ้น
ปี พ . ศ . 2495 ได้มีการจัดแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงขึ้นครั้งแรก โดยมีนาย Migaki Nishikawa ประธานสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยจัดให้มีการแข่งขันระหว่างประเทศในแถบตะวันออกไกล และกีฬาวอลเลย์บอลนี้ได้ถูกจัดเข้าแข่งขันในโอลิมปิกครั้งแรกที่เมืองเฮลซิงกิ และมีการแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่เมืองสโคร์ จากนั้นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งญี่ปุ่นก็มีการส่งเสริมกีฬาชนิดนี้มาก โดยส่งทีมวอลเลย์บอลของมหาวิทยาลัย Lashita ซึ่งชนะเลิศการแข่งขันของประเทศญี่ปุ่นไปแข่งที่สหรัฐอเมริกา